อนาคตผู้สูงอายุไทย
วันที่ : 12 พฤษภาคม 2564 1,563 ครั้ง

At the end of the countdown signal that started from 10, going back to 4-3-2-1, the fireworks glowed brightly. appeared in the sky A loud bang sounded like the sound of welcoming the first minutes of the new year. The crowd cheered, the music rang out, the New Year's tunes echoed.

Image www.freepik.com/

Nowadays, internet communication technology has advanced a lot. We have seen the broadcast of the New Year's celebration. Not only from cities and places in the country, but also seeing the New Year's events from other countries around the world.

I am reminded of the events almost 60 years ago, the people of Bangkok celebrated the New Year at home. Households with televisions may also be able to watch the Suntaraporn band live on Channel 4 Bang Khun Phrom. Friends and relatives set up a dining band to wait for the turn of the year. Some young people went to celebrate the New Year at Sanam Luang. where entertainment and performances such as bands and movies are staged in the area At midnight, fireworks signaled that the old year was over and the new year had begun. The people cheered and cheered together.

one new year I went to see a movie around midnight with my friends at "Chalerm Krung" just to waste time. And to be named a New Year's Eve event to talk about and show off to friends

When I was young, I often joined a group of friends to drink and eat joyfully as a way of saying goodbye to the old year and welcoming the new year.

Celebrating the New Year as an Elder

In the later stages, when they get older and become older I pay less attention to New Year's Day. Instead, I have a view that New Year's Day is no different from any other day. The sun rises in the east in the morning. and then it falls in the west in the evening New Year's Day is just a day when people assume that they have converged on the anniversary again. From the last day of December to the first day of the year, which is January 1.

Three years ago, on the last night of 2015, there were only a few hours left until the start of the new year. I drove back from Bangpakong Hospital. where the mother went to bed and was sick, being a patient there Along the way, I imagined people waiting to countdown to the new year. 

We are born and we will surely die, but we do not know when we will die. when the new year The date the year changes from the old year to the new year. It means that our life is short for another year. and on the contrary It's like we're one year older. On the occasion of New Year's Day This 2020, a junior colleague who studies "Century people - people of a hundred years" come together and write to wish me a hundred years of life. I hesitated whether to accept this blessing willingly or not. If this blessing is fulfilled I live up to a hundred years. Then I'm extremely lucky. is still in good health Enough to do various daily activities on their own, although the brain is somewhat forgetful. But it's not so bad that I can't remember anything. I could see in the next 28 years Thai society that left few traces of Thai society today.

Thai society today is very different from Thai society in the past.

half a century ago Thai population has changed a lot. both in terms of size and structure

เมื่อ พ.ศ. 2513 ประเทศไทยมีประชากรราว 34 ล้านคน พ.ศ.2563 ประมาณว่าประชากรไทยมีจำนวน 67-68 ล้านคน เท่ากับว่าชั่วเวลา 50 ปีที่ผ่านมานี้ ขนาดประชากรไทยขยายใหญ่ขึ้นเท่าตัวแต่การเปลี่ยนแปลงที่น่าตื่นเต้นคือ โครงสร้างอายุของประชากรไทยเมื่อ พ.ศ. 2513 เราเคยมีประชากรเด็กคิดเป็นสัดส่วนเกือบครึ่งหนึ่งของประชากรทั้งหมด เดี๋ยวนี้ เรามีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีไม่ถึงร้อยละ 20 ที่น่าตื่นเต้นสุด ๆ คือผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นเกือบสิบเท่าตัว จากเมื่อ พ.ศ. 2513 มีเพียง 1.7 ล้านคน เดี๋ยวนี้ ประเทศไทยมีผู้สูงอายุมากถึง 12 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 18 ของประชากรทั้งหมดเท่ากับผู้สูงอายุเพิ่มจำนวนมากขึ้น 7 เท่าตัวในระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา

นานมาแล้วผมเคยเขียนไว้ใน “ประชากรและการพัฒนา” ว่า ตัวกำหนดสำคัญของ “ความแก่” มี 2 ประการคือ “สังขาร” และ “สังคม” สังขารคือ สมรรถนะของร่างกาย ในสายตาของผม ผู้สูงอายุสมัยนี้ดูจะแข็งแรงและมีพลังมากกว่าผู้สูงอายุในอดีตผมยังไม่มีตัวเลขมายืนยัน แต่ก็แน่ใจว่าผู้สูงอายุรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ดูจะกระชุ่มกระชวยเหมือนคนหนุ่มสาว อาจเป็นเพราะตัวกำหนดอีกตัวหนึ่ง คือ “สังคม” ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุยังคงแสดงบทบาทในสังคมได้อย่างมั่นใจ เมื่อก่อน คนอายุเกิน 60 ปีขึ้นไปก็เป็นคุณตา คุณยาย มีลูกเต็มบ้านหลานเต็มเมืองกันแล้ว คนอายุ 70-80 ปี ก็เรียกได้ว่า “แก่” มาก ๆ สังคมแต่ก่อนจะมองว่าคนแก่ขนาดนั้นสมควรที่จะอยู่กับบ้าน ไม่น่าจะออกมาเดินเล่นชอปปิ้ง ชุมนุมรุ่น ขับรถ เดินทางตามลำพังในที่สาธารณะ เหมือนอย่างผู้สูงอายุสมัยนี้

ผู้สูงอายุไทยในอนาคต

ใน พ.ศ. 2563 จะมีคนไทยที่เกิดใน พ.ศ. 2503 จำนวน 9 แสนกว่าคนที่มีชีวิตเหลือรอดเป็นผู้สูงอายุในปีนี้ประมาณ 8 แสนคนต่อไปอีก 3 ปี คลื่นประชากรลูกใหญ่ หรือที่ผมชอบเรียกว่า “สึนามิประชากร” คือ คนที่เกิดระหว่าง พ.ศ. 2506-2526 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยมีเด็กเกิดปีละมากกว่า 1 ล้านคน ก็จะเริ่มเข้าสู่วัยสูงอายุ และอีก 20 ปีข้างหน้า คลื่นยักษ์ประชากรลูกนี้จะกลายเป็นผู้สูงอายุทั้งหมด คาดประมาณว่าประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุมากกว่า 20 ล้านคนใน พ.ศ. 25831

ผู้สูงอายุจะอยู่กับใคร

เราอาจไม่ต้องเป็นห่วงผู้สูงอายุวัยต้น (60-69 ปี) และผู้สูงอายุวัยกลาง (70-79 ปี) มากนักเพราะส่วนใหญ่น่าจะยังมีสุขภาพแข็งแรง สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ที่น่าเป็นห่วงคือ ผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ที่มีโอกาสอยู่ในสภาวะต้องพึ่งพาคนอื่นสูง ผู้สูงอายุในอนาคตจะมีคนที่อยู่เป็นโสดมากขึ้น ผู้สูงอายุวัยปลายที่เป็นหญิงจะเป็นหม้ายเพราะสามีตายก่อนมากขึ้น ผู้สูงอายุในอนาคตจะมีลูกหลานให้พึ่งพาน้อยลง

ภาพ www.freepik.com/

ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทำงาน แต่จะมีงานอะไรให้ผู้สูงอายุทำ

นโยบายเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทุกวันนี้ คือหามาตรการยืดเวลาให้ผู้สูงอายุยังคงอยู่ในกำลังแรงงานให้นานที่สุด ในขณะที่เราส่งเสริมให้บริษัทห้างร้านและอุตสาหกรรมต่าง ๆ จ้างงานผู้สูงอายุ แต่ประเทศไทยยุคนี้มีแนวโน้มที่จะใช้เครื่องจักรกลและหุ่นยนต์มาแทนแรงงานมนุษย์มากขึ้น โดยเฉพาะในขณะนี้ เศรษฐกิจของประเทศไทยกำลังมีปัญหาทำให้คนวัยแรงงานถูกเลิกจ้างเป็นจำนวนมาก ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีการผลิตที่ทำให้ความต้องการแรงงานคนลดต่ำลง การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุยังคงทำงานอยู่ต่อไปให้นานที่สุด จึงอาจดูย้อนแย้งกับสถานการณ์การจ้างงานที่เกิดขึ้นในประเทศไทยขณะนี้ จะมีงานอะไรให้ผู้สูงอายุทำ เมื่อคนวัยทำงานยังว่างงานมากมายอยู่อย่างนี้

ส่งเสริมให้คนวัยทำงานออมเงินไว้ใช้ยามชรา แต่คนวัยทำงานจะเอาเงินที่ไหนมาออม

เมื่อมีอายุสูงขึ้น สมรรถนะในการทำงานเพื่อหารายได้ย่อมลดถอยลง รายได้เพื่อยังชีพยามชราเป็นเรื่องสำคัญ ที่จะช่วยเป็นหลักประกันความมั่นคงของชีวิตผู้สูงอายุ นโยบายและมาตรการที่จะส่งเสริมให้คนในวัยทำงาน ออมเงินไว้ใช้ยามชราจึงเป็นเรื่องจำเป็น โดยเฉพาะคนที่ไม่มีหลักประกันด้านรายได้ทางอื่น เช่น บำเหน็จบำนาญ ของข้าราชการ บำนาญชราภาพของกองทุนประกันสังคม ปัจจุบัน พ.ร.บ. กองทุนการออมแห่งชาติเป็นเครื่องมือที่จะช่วยส่งเสริมการออมให้กับแรงงานที่อยู่นอกระบบ แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลกำลังส่งเสริมให้คนไทยใช้จ่ายเงินผ่านโครงการต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ แล้วคนไทยจะเอาเงินที่ไหนมาออม

ยิ่งน่าเป็นห่วง เมื่อมากกว่าร้อยละ 50 ของครัวเรือนไทยสมัยนี้มีหนี้สิน2 เคยได้ยินคนพูดว่า “เงินจะซื้อข้าวกินไปวัน ๆ ยังมีไม่พอ แล้วจะเอาเงินที่ไหนไปออม?”

บางครั้งคิดมากไปแล้วก็เศร้า มองในด้านลบ ระบบเศรษฐกิจไทยดูจะไม่ชวนให้คนรุ่นใหม่มัธยัสถ์อดออม คนไทยรู้ดีว่าเศรษฐกิจไทยไม่ได้มั่นคงนัก เงินเฟ้อขึ้นทุก ๆ ปี เมื่อ 50 ปีก่อนน้ำอัดลมขวดละ 1 บาท เดี๋ยวนี้ขวดละ 10 บาท ราคาเพิ่มขึ้น 10 เท่าถ้าเงินเฟ้อปีละร้อยละ 4 เงิน 100 บาทจะเหลือค่าเพียง 60 บาทในอีก 10 ปีข้างหน้า และจะเหลือเพียง 40 บาทในอีก 20 ปีข้างหน้า ถ้าคนรุ่นใหม่ออมวันนี้ตั้งแต่ยังทำงานอยู่ 100 บาท เมื่อแก่ตัวลง ค่าของเงินเหลือเพียงไม่ถึงครึ่ง ใครจะอยากไปออม เมื่อมองไปในอนาคตที่เงินออมจะมีค่าลดน้อยถอยลงเช่นนี้สู้เอาเงินที่หาได้วันนี้ไปใช้จ่ายหาความสุขให้ตัวเองไม่ดีกว่าหรือ

ตั้งใจว่าปีใหม่แล้ว เป็นผู้สูงอายุแล้ว จะคิดและมองโลกในทางบวก ผมเขียนบทความนี้ในวันที่สองของปีใหม่ ทำท่าว่าจะมองอนาคตของผู้สูงอายุไทยไปในทางลบมากเกินไปเสียแล้ว กังวลว่าผู้สูงอายุไทยในอนาคตจะต้องประสบกับความยากจน จะมีรายได้ไม่เพียงพอที่จะเลี้ยงชีพ

But in fact, there are some positive aspects in the future of Thai elderly people, such as receiving the universal old age pension. Getting medical services from the National Health Insurance System These positive aspects would be sufficient for the elderly in Thailand in the future to live together.

.................................................. .........

1 Office of the National Economic and Social Development Council (NESDB). 2019. Thailand Population Projection Report 2010–2040 (Revised Edition). Bangkok : Amarin Printing and Publishing Public Company Limited

2 National Statistical Office (NHSO). 2018. Household socio-economic survey 2017. Bangkok: National Statistical Office.

Article by Pramote Prasartkul 

Population and Development Newsletter, Year 40, Issue 3, February - March 2020

Newsletter

 


สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170